OB-GYN CMU

Hysterectomie abdominale

  • Print
  • Email

Dernière mise à jour le 27 octobre 2016 Par นวลอนงค์ วงศ์ขันแก้ว Hits : 10438

Hysterectomie abdominale

พ.ญ.นวลอนงค์ วงศ์ขันแก้วอาจารย์ที่ปรึกษา ร.ศ. พ.ญ. จารุวรรณ แซ่เต็ง

ประวัติการผ่าตัดมดลูก (4)

ประเภทของการผ่าตัด (4-6)

แบ่งตามช่องทางการผ่าตัด

  • Hysterectomie abdominale (การผ่าตัดมดลูกผ่านหน้าท้องแบบปกติ)
  • Hysterectomie vaginale (การผ่าตัดมดลูกผ่านหน้าท้องแบบปกติ)
  • . vaginale (การผ่าตัดมดลูกทางช่องคลอด)
  • Hysterectomie laparoscopique (การผ่าตัดมดลูกโดยใช้กล้องส่องช่องท้อง)
  • Hysterectomie assistée par robot (การผ่าตัดมดลูกโดยใช้กล้องส่องช่องท้อง)
  • .assistée par robot (การผ่าตัดมดลูกโดยใช้หุ่นยนต์)

แบ่งตามการเนื้อเยื่อที่ตัด

  • Hysterectomie totale(การผ่าตัดออกทั้งมดลูกและปากมดลูก)
  • Hysterectomie subtotale (การผ่าตัดออกเฉพาะมดลูก คงเหลือปากมดลูกไว้ )
  • Hysterectomie radicale (การผ่าตัดมดลูกออกร่วมกับการทำ lymphadénectomie pelvienne และเอา ligament utéro-sacré, ligament cardinal และหนึ่งในสามด้านบนของช่องคลอดออก)

ข้อบ่งชี้ในการผ่าตัดมดลูก (4-6)

Etat bénin

  • Léiomyome utérin (เนื้องอกของกล้ามเนื้อมดลูก)
  • Endométriose/Adénomyose (เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่)
  • Prolapsus des organes pelviens (ภาวะกระบังลมหย่อน)
  • Saignement utérin anormal (เลือดออกผิดปกติจากโพรงมดลูก)
  • Douleurs pelviennes (ยังมีหลักฐานไม่มากที่สนับสนุนให้ทำ hystérectomie เพื่อการรักษาใน Douleur chronique ยกเว้นการปวดระดูหรือมีพยาธิสภาพในอุ้งเชิงกราน)

Maladie maligne et pré-maligne. (โรคมะเร็งในระบบสืบพันธ์เพศหญิง)

  • Hyperplasie endométriale avec atypies
  • Adénocarcinome in situ du col
  • การ staging สำหรับโรคมะเร็งของ utérus, col de l’utérus, carcinome épithélial ovarien, trompe de Fallope

Etat aigu

  • Etat lié à la grossesse เช่น hémorragie du post-partum จาก placentation anormale , atonie utérine rupture utérine, fibrome, extension de la cicatrice utérine เป็นต้น
  • TOA ที่แตกหรือรักษาด้วยยาไม่ได้ผล

Hysterectomie et ovariectomie prophylactique pour antécédents familiaux de cancer de l’ovaire ในอเมริกามีการผ่าตัดในสตรีอายุ 40 – 65 ปี ถึง 50 – 66%

การประเมินก่อนผ่าตัด (préopératoire) (2,4,7,13)

2. ประเมินความเสียงในการผ่าตัด

3. การป้องกันก่อนการผ่าตัด (mesure de prophylaxie) (12,13)

  1. Thromboprophylaxie การป้องกันภาวะ thromboembolie veineuse (TEV) มีทั้งการใช้ยาและป้องกันแบบเชิงกลนั้น ขึ้นอยู่กับผู้ป่วยมีปัจจัยเสี่ยงของผู้ป่วย ซึ่งมีเกณฑ์การแบ่งตามองค์กรต่างๆ โดย ดังนี้
    ACOG (10) (วิทยาลัยสูตินรีแพทย์) ป้องกันก่อนผ่าตัดและหลังผ่าตัด 7 วัน หรือจนกว่าผู้ป่วยกลับบ้าน
    • ความเสี่ยงต่ำ : ไม่จำเป็นต้องป้องกันก่อนผ่าตัด
    • ความสี่ยงปานกลาง :
      • Compression des stocks / compression pneumatique ตั้งแต่เริ่มผ่าตัดจนกระทั่งฟื้นจากการผ่าตัด
      • Héparine non fractionnée (5,000 U) 2 ชั่วโมงก่อนการผ่าตัด และให้ต่อทุก 8 ชั่วโมง
      • Héparine de bas poids moléculaire (daltéparine, 2 500 U antifacteur-Xa, ou énoxaparine, 40 mg) 12 ชั่วโมงก่อนการผ่าตัด และ หลังผ่าตัดวันละครั้ง
    • ความเสี่ยงสูง
      • Héparine non fractionnée (5,000 U) 2 ชั่วโมงก่อนการผ่าตัด และให้ต่อทุก 8 ชั่วโมง
      • Héparine de bas poids moléculaire (daltéparine, 2 500 U antifacteur-Xa, ou énoxaparine, 40 mg) 12 ชั่วโมงก่อนการผ่าตัด และ หลังผ่าตัดวันละครั้ง

.

.

ระดับความเสี่ยง

Faible risque de saignement

Risque élevé de saignement majeur

ความเสี่ยงต่ำมาก
(score de Caprini 0)

Ambulation précoce

Ambulation précoce

ความเสี่ยงต่ำ
(score de Caprini 1-2)

Compression pneumatique intermittente (IPC)

Compression pneumatique intermittente compression

ความเสี่ยงปานกลาง
(score Caprini 3-4)

LMWH ou LDUH ou compression pneumatique intermittente

Compression pneumatique intermittente

ความเสี่ยงสูง
(Score de Caprini ≥5)

LMWH ou LDUH et compression pneumatique intermittente

Compression pneumatique intermittente. compression pneumatique intermittente jusqu’à ce que le risque d’hémorragie diminue et thromboprophylaxie pharmacologique

Chirurgie du cancer
(cancer viscéral)

LMWH
Durée prolongée (quatre semaines) si pas de risque de saignement majeur

* LDUH = héparine non fractionnée à faible dose ; HBPM = héparine de faible poids moléculairemoléculaire
ตารางที่ 1แสดงวิธีการป้องกันการเกิดภาวะ thromboembolie veineuse (TEV)

Hyst T2

3) Prophylaxie de l’endocardite
AHA (สมาคมโรคหัวใจของอเมริกา 2007) ไม่แนะนำให้ยาฆ่าเชื่อเพื่อป้องกันการเกิดโรคเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบในกรณีที่รับการผ่าตัดทางระบบ génito-urinaire หรือgastro-intestinal ดังนั้นการผ่าตัดมดลูกจึงไม่มีความจำเป็นต้องให้ยาป้องกันการเกิดเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ

การเตรียมผู้ป่วยก่อนการผ่าตัด (2,4,13)

1) การเตรียมลำไส้ (préparation intestinale préopératoire) (4)

2) การป้องกันแผลผ่าตัดติดเชื้อ (prévention des infections du site opératoire)(15) : Clostridium difficile

  • Prophylaxie antibiotique ดังที่กล่าวข้างต้น
  • Peau préparation(16)
    • Solution de gluconate de chlorhexidine à 4% ร่วมกับ Alcool isopropylique à 70%
    • การใช้ chlorhexidine-alcool ดีกว่าการใช้ povidone-iode และ iode-alcool
    • การให้อาบน้ำด้วย Chlorhexidine ก่อนผ่านตัด ไม่ได้ป้องกันภาวะแผลผ่าตัดติดเชื้อ
    • ไม่จำเป็นที่จะกำจัดขน ผู้ป่วยที่โกนมีแนวโน้มที่จะพัฒนาติดเชื้อแผลผ่าตัด หากต้องการกำจัดขนให้เลือกเป็นตัดมากกว่าโกน
  • Préparation vaginale(17)
    • สามารถใช้ได้ทั้ง povidone-iode (PVP-I) หรือ gluconate de chlorhexidine ร่วมกับ alcool isopropylique à 4% ในอเมริกานิยมใช้ PVP-I มากกว่า แต่หลายที่ทั่วโลกนิยมใช้ chlorhexidine เนื่องจากสามารถลดskin flore ได้มากกว่า PVP-I ในบางการศึกษาพบว่าchlorhexidineทำให้เกิดอาการแพ้หรือระคายเคืองได้มากกว่าแต่บางการศึกษาก็พบว่าไม่มีความแตกต่างกันทั้งการทำให้เกิดอาการแพ้หรือการป้องกันการติดเชื้อของทั้งสองชนิด ซึ่งยังไม่มีข้อแนะนำให้ใช้สารใดดีที่สุดในการเตรียมช่องคลอด ในกรณีที่ผู้ป่วยเกิดอาการแพ้ สามารถใช้ sérum physiologique stérile หรือแชมพูเด็ก

4) Analogues de la GnRH préopératoires(20) การรักษาก่อนการผ่าตัด3-4เดือนด้วย analogues de la libération de la gonadotrophine (GnRH) จะช่วยลดลงขนาดมดลูกลง และส่งผลให้การเสียเลือดในระหว่างการผ่าตัดและเวลาการผ่าตัดน้อยลง

เทคนิคการผ่าตัด (2,4,13)

1. Position การจัดท่า

2. Incision cutanée การลงแผลผ่าตัด

Hyst01

รูปที่ 1 แสดง incision cutanée แบบต่างๆ (21)

.

Hyst02

รูปที่ 2 แสดง incision cutanée กรณีผู้ป่วยน้ำหนักมาก (4)

Hyst03

4. Tassement intestinal ใช้swab packing ในการกันลำไส้ ไม่ให้มารบกวนการผ่าตัด ทำร่วมกับ Position de Trendelenburg

6. Hystérectomie (2,4,14) *รูปขั้นตอนทั้งหมด (2) การตัดมดลูกมีขั้นตอนดังนี้

1) Élévation de l’utérus ใช้ Kocher clampsโค้งยาว 2 ตัว จับบริเวณเนื้อเยื่อมดลูกทั้ง 2 ข้าง โดยบริเวณ cornu โดยจับทั้ง ligament rond, ligaments ovariens และท่อนำไข่ไว้ด้วยกัน ให้ปลายของ pinces de Kocher อยู่ที่ระดับ isthme ของมดลูก จุดประสงค์คือเพื่อใช้จับโยกมดลูกในขณะที่ทำการผ่าตัดเนื้อเยื่อรอบมดลูกและปากมดลูกทั้งสองข้าง เพื่อช่วยดึงมดลูกขึ้นมา และป้องกันไม่ได้เลือดไหลย้อนกลับเมื่อตัด ligament rond

2) ligature du ligament rond ถ้าจะตัดด้านไหนให้ดึงมดลูกไปทางด้านตรงข้ามเพื่อให้ ligament rond ตึงขึ้น ใช้ Pinces de Kocher 2 ตัว จับ ligament rond ควรจับบริเวณ ส่วนกลาง หรือค่อนไปทางด้านนอกของมดลูก แล้วใช้ Ciseaux Mayo ตัดระหว่าง pince แล้วเย็บผูก ligament rond ด้าน paroi latérale pelvienne ด้วย suture résorbable retardée

Hyst04

.

3) Dissection du ligament large เปิด espace rétropéritonéal โดยใช้ pinces จับไว้เพื่อเปิด ligament large ขนานกับinfundibulopelvic ligament. แล้วใช้ ciseaux Metzenbaum หรือ จี้ไฟฟ้า เปิด feuille antérieure ของ ligament de la planche โดยเริ่มจากรอยตัดขวางของ ligamnet rond ลงมาตามแนว pli péritonéal vésico-utérin และตัด feuille postérieure ของ ligament de la planche ไปยัง paroi pelvienne แล้ว dissection émoussée เพื่อดูท่อไตซึ่งทอดข้าม bord pelvien ที่ bifurcation ของ artère iliaque commune ท่อไตจะอยู่ติดกับด้านmedial หรือ feuillet postérieur ของ ligament large โดยทั่วไปแล้วไม่ได้แนะนำให้ใส่ endoprothèse urétérale เพื่อป้องกันการบาดเจ็บต่อท่อปัสสาวะ และอาจใส่ได้ในกรณีที่คิดว่าผ่าตัดยาก มีพังผืดมาก ไม่สามารถมองเห็นอวัยวะได้ชัด

Hyst05

4) Ligature du ligament infundibulopelvien ใช้นิ้วคล้อง ligament infundibulopelvien ข้างขวาไว้ในนิ้วมือ แล้วหนีบด้วย. Pinces de Kocher 2 ตัว ตรงส่วน distales ต่อท่อนำรังไข่และรังไข่ ตัดระหว่าง pinces ด้วย ciseaux Mayo ผูก ใต้ Pinces de Kocher ที่ชิด paroi pelvienne ด้วยไหม 2 เส้น ทีละเส้น

  • กรณีตัดรังไข่ ตัด ligament infundibulopelvien
  • .

  • กรณีไม่ตัดรังไข่ ให้หนีบ ตัด และผูก ligament ovarien ท่อนำรังไข่และเส้นเลือดด้านใต้ต่อรังไข่ หนีบ ตัด และผูกround ligament และinfundibulopelvic ligament ข้างซ้ายเช่นเดียวกับข้างขวา

จากนั้น ผูกstump ของรังไข่และท่อนำรังไข่ไว้กับ pinces de Kocher แล้วตัด péritoine vésicouterine ทั้งสองข้างมาชนกันเพื่อแยกกระเพาะปัสสาวะออกจากปากมดลูก

Hyst06

5) Mobilisation de la vessie ดึงมดลูกขึ้นไปทางด้านศีรษะของผู้ป่วยโดยการจัดclamp แล้วสอดปลาย ciseaux de Metzenbaum หรือ ปลายจี้ไฟฟ้า แหวกตรง espace avasculaire ระหว่างกระเพาะปัสสาวะและปากมดลูกให้เป็นช่อง แล้วค่อยๆแยกกระเพาะปัสสาวะลงไปเรื่อยๆ จนถึงผนังช่องคลอด ให้เลยปากมดลูกไปเล็กน้อย แนะนำให้ทำเป็น dissect sharp มากกว่า blunt dissect เพราะมีโอกาสบาดเจ็บต่อกระเพาะปัสสาวะได้ง่าย โดยเฉพาะกรณีที่เคยผ่าตัดคลอดมาก่อน จากนั้นใช้ retractor ช่วยดึง bladder peritoneum ลง ถ้ามีเลือกออกให้จี้ด้วยไฟฟ้าหรือหนีบผูกด้วยไหม

Hyst07

Hyst08

6) Ligature des vaisseaux utérins โยกมดลูกไปด้านตรงข้ามที่จะตัด เพื่อช่วยตรึง segment utérin inférieur แล้วค่อยๆเลาะ tissu conjonctif lâche ที่อยู่ข้างๆ (skelentonisé)โดยใช้Metzenbuam หรือélectrochirurgie เพื่อให้เห็นเส้นเลือดชัดเจนขึ้น แล้วค่อยๆเลาะ จนเห็น artère utérine ทั้งเส้น แยกออกมาจาก artère hypogastrique ก่อนที่จะข้ามท่อไต แล้วใช้ pinces de Heaney หนีบ artère utérine ตรงตำแหน่งรอยต่อมดลูกและตัวมดลูก แล้วตัดและผูกทำทั้งสองข้าง

7) Incision du péritoine postérieur péritoine ดึงมดลูกขึ้นมาบริเวณกระดูกหัวหน่าว เพื่อให้ ligament utéro-sacré ตึงและเห็น cul de sac ชัดเจน แล้วใช้ปลาย Ciseaux de Metzenbaum หรือ ปลายจี้ไฟฟ้า เลาะแยก péritoine ที่บริเวณรอยต่อระหว่าง rectum กับ ligament utéro-sacré ligament เพื่อดัน rectum ลงไปด้านหลัง

Hyst09

8) Ligature du ligament cardinal เลาะแยก ligament cardinal ซึ่งอยู่ในต่อ Vaisseau utérin 2-3 cm ขนาน ต่อกับ utérus ค่อยๆ หนีบ ตัด และเย็บผูก ligament cardinal 2 ข้างลงไปเรื่อยๆพร้อมๆกับใช้นิ้วเลาะเเยก rectum ออกจากด้านหลังของผนังช่องคลอด จนเลยตำแหน่งปากมดลูกเล็กน้อย

Hyst09b

Hyst10

9) Retrait de l’utérus โดยการดึงมดลูกไปทางศีรษะ แล้วคลำหาปากมดลูก แล้วใช้ pinces de Heaney courbes หนีบทั้งสองข้างใต้ต่อปากมดลูกที่ orifice cervical externe. แล้วใช้กรรไกรหรือมีดตัดมดลูกออกมา

10) Amputation ou ablation du col de l’utérus แบ่งประเภทของการดังนี้

  • Hysterectomie totale คือการตัดมดลูกรวมทั้งปากมดลูกออกทั้งหมด มีเทนนิดดังนี้
    • Technique intrafasciale เป็นเทคนิคที่สามารถหลีกเลี่ยง alimentation neurovasculaire บริเวณ jonction cervicovaginale หลีกเลี่ยง fascia pubovesicocervical โดยการตัด transversal incisionsที่ปากมดลูกทั้งด้านหน้าและด้านหลัง ใต้ระดับของ vascularisation utérine ซึ่ง fascia pubovesicocervical ถูก blunt dissect ออกจาก segment utérin inférieur และcervix โดยใช้ด้ามมีดหรือgauzeพันนิ้วชี้ แต่ต้องระวังไม่ให้ลึกเกินไปหรือผิดแนวจะทำให้ทำยากและเลือดออกมากได้ จากนั้นใช้ pince de Heaney โค้งจับข้างใน fasciaทั้งสองข้างของมดลูกจนถึง Ligaments utéro-sacrés และupper vaginaที่ต่ำกว่าปากมดลูก แล้วจึงตัดมดลูกออก
    • Technique extrafasciale – เป็นวิธีที่นิยมทำทั่วไป โดยตัดบริเวณ jonction cervicovaginale ในตำแหน่งเดียวกับที่สามารถคลำปากมดลูกได้ด้านนอกของ fascia ได้เลย
  • Hysterectomie subtotale (hystérectomie supracervicale) กรณีที่ต้องการเก็บปากมดลูกไว้ให้หนีบ ligaments cardinaux et larges. บริเวณตรงกลางระหว่าง ostia cervicaux internes et externes หลังจากนั้นใช้มีดหรือจี้ไฟฟ้าตัดบริเวณ Endocervix แล้วเย็บปิดบริเวณ segment inférieur ด้วย matériau absorbable เบอร์ 0 แบบ continu หรือ interrompu

11). Fermeture de la manchette vaginale มีวิธีการเย็บหลายวิธีด้วยกัน ซึ่งจากการศึกษาแบบRCTพบว่าไม่มีความแตกต่างกันในเรื่องของการติดเชื้อหลังผาตัดระหว่างวิธีการเย็บปิดstump หรือเปิดstumpไว้ ยกตัวอย่าง 3 วิธีคือ โดยทั่วไปใช้วิธีเย็บปิดstump โดยการเย็บมุมทั้งสองด้านของช่องคลอด ด้วยวิธี figure-de huit ด้วย suture absorbable เบอร์ 0 แล้ว เย็บปิดผนังช่องคลอดแบบ suture à verrouillage continu

  • Prévention du prolapsus apical : ความสัมพันธ์ระหว่างการเกิดpelvic prolapsus d’organe หลังจากการตัดมดลูกยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ แต่มีผู้เชี่ยวชาญให้ความเห็นว่า apex vaginal ควรจะถูกเย็บซ่อมเพื่อลดการหย่อนในเวลาต่อมา เทคนิคทั่วไปสำหรับการป้องการหย่อน (suspension de l’apex vaginal) คือ การตัดมดลูกแบบintrafascial เพื่อที่จะรักษา les ligaments utéro-sacrés-complexe ligamentaire cardinalไว้ รวมถึงการผูก ligaments utéro-sacrés ไว้กับมุม vaginal ในขณะเย็บปิดช่องคลอด

Hyst11

Hyst12

12) Examen final et fermeture ล้างด้วย solution saline chaude หรือ solution de lactate de Ringer ตรวจหาจุดเลือดออกในบริเวณที่ผ่าตัดทำการห้ามเลือดด้วยวิธีที่เหมาะสม ตรวจดูให้แน่ใจว่าไม่มีการบาดเจ็บต่อกระเพาะปัสสาวะ ส่วนการป้องกันการเกิดพังผืดหลังผ่าตัดสามารถทำได้ เช่นให้มีการเสียเลือด หรือมีการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อน้อยที่สุด หรืออาจวาง barrières anti-barrières adhésivesร่วมด้วย
การเย็บปิดหน้าท้อง เย็บปิดทีละชั้น

  • Fermeture du péritoine เย็บปิดเยื่อบุช่องท้องเพื่อลดการเกิดเยื่อพังพืด (22) แต่บางการศึกษาพบว่าไม่มีความจำเป็นต้องเย็บปิด (23)
  • Fermeture du fascia เย็บ fascia ด้วย interrompu หรือ continu ก็ได้ โดยใช้ suture absorbable monofilament เบอร์ 1 หรือ 0
  • Fermeture de la peau เช็ดจุดเลือดออกและหยุดเลือด ถ้าชั้นไขมันหนามากกว่า 2 cm เย็บ de graisse ด้วย suture absorbable interrompue และเย็บปิดskinด้วย agrafes หรือ sutures sous-cutanées

ภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัด

  • Hémorragie peropératoire เป็นการเสียเลือดระหว่างผ่าตัดที่ต้องให้เลือดทดแทน หรือเสียเลือดมากกว่า 1000 ml และไม่มีภาวะซีดก่อนการผ่าตัด ( Hb <11mg%) ไม่มีเลือดออกหลังผ่าตัด และ ไม่มีการผ่าตัดอื่น นอกจาก colporrhaphy, annexectomie, หรือ appendicectomie
  • Hémorragie postopératoire หมายถึง การมีเลือดออกหลังการผ่าตัดที่ต้องให้มีการเย็บ brassard vaginal ซ้ำอีกครั้ง หรือ pédicules vasculaires แบ่งเป็นสองระยะ คือ hémorragie postopératoire précoce(ภายใน 48 ชั่วโมง) และ tardive (มากกว่า 48 ชั่วโมง)
  • fièvre inexpliquée หมายถึง การมีไข้ที่ไม่สามารถหา source d’infection ได้ พบว่า การมีไข้หลังผ่าตัด
  • Infection du site opératoire การให้ antibiotique prophylactique สามารถลดอัตราการเกิด infection de la plaie ได้แก่ infection du moignon vaginal เป็นต้น
  • Infection à distance du site opératoire เช่น infection intra-abdominale infection des voies urinaires และ pneumonie. โดยมีความเสี่ยงที่จะเกิดเพิ่มขึ้นในผู้ป่วยที่มีประวัติเป็นโรคปอด ประวัติ alcoolisme และ ผู้ป่วยที่มีอายุมาก ซึ่งถือว่าเป็นภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง

3) Lésions des organes adjacents – อันตรายต่ออวัยวะข้างเคียงจากการผ่าตัดพบได้เสมอ อวัยวะที่เป็นอันตราย ได้แก่ vessie, intestinale และ uretère

4) Obstruction intestinale / iléus ภาวะ iléus intestinal สามารถพบได้บ่อยหลังผ่าตัด ส่วนโอกาสเกิด obstruction intestinale 13.6/10 000 คนที่ได้รับการผ่าตัดด้วยภาวะที่ไม่ใช่มะเร็ง ส่วนใหญ่เกิดจากพังผืดในช่องท้อง (24)

เอกสารอ้างอิง

  1. Hysterectomie. Disponible sur :https://en.wikipedia.org/wiki/Hysterectomy.
  2. Berek, Jonathan S. Berek &Gynécologie de Novak, 14e édition. Lippincott Williams & Wilkins 2007.
  3. Andreas Stang. Niveau d’éducation, prévalence de l’hystérectomie,et âge de l’aménorrhée : une analyse transversale de 9536 femmes provenant de six études de cohorte basées sur la population en Allemagne. Stang et al. BMC Women’s Health 2014, 14:10.
  4. Howard W. Jones III . Hystérectomie abdominale /In;Te Linde’s Operative Gynecology.11e édition. Wolters Kluwer,2015.P.1245-1280.
  5. Falcone T, Walters MD. L’hystérectomie pour une maladie bénigne. Obstet Gynecol. 2008 Mar;111(3):753-67.
  6. Johnson N, Barlow D, Lethaby A, Tavender E, Curr E, Garry R. Approche chirurgicale de l’hystérectomie pour une maladie gynécologique bénigne. Cochrane Database Syst Rev. 2006.
  7. Michael Moen. Hystérectomie pour les affections bénignes de l’utérus .Hystérectomie abdominale totale. Obstet Gynecol Clin N Am 43 (2016) 431-440.
  8. Bulletin de pratique de l’ACOG n° 89. Salpingo-ovariectomie élective et réduisant les risques. Obstet Gynecol. 2008 Jan;111(1):231-41.
  9. Lethaby A, Mukhopadhyay A, Naik R. Hystérectomie totale versus hystérectomie subtotale pour des conditions gynécologiques bénignes. Cochrane Database Syst Rev. 2012;4:CD004993.
  10. Bulletin de pratique de l’ACOG n° 84 : Prévention de la thrombose veineuse profonde et de l’embolie pulmonaire. Obstet Gynecol. 2007 Aug;110(2 Pt 1):429-40.
  11. Gould MK, Garcia DA, Wren SM, Karanicolas PJ, Arcelus JI, Heit JA, et al. Prevention of VTE in nonorthopedic surgical patients : Antithrombotic Therapy and Prevention of Thrombosis, 9e édition : American College of Chest Physicians Evidence-Based Clinical Practice Guidelines. Chest. 2012 Feb;141(2 Suppl):e227S-77S.
  12. Alexander Friedman. Prévention de la thrombo-embolie veineuse obstétricale chez les femmes obèses. Disponible à : https://www.acog.org/-/media/Departments/Public-Health-and-Social-Issues/Final-and-Approved-Presentations/10-Friedman–Obstetric-VTE-and-Obesity.pdf?dmc=1&ts=20161005T0517034635
  13. Thomas G Stovall,William J Mann, Jr, . Hystérectomie abdominale. Disponible sur : http://www.uptodate.com/contents/abdominal-hysterectomy?source=search_result &search=Hysterectomie abdominale +&selectedTitle=1~85
  14. Prophylaxie antibiotique pour les procédures gynécologiques. ACOG Practice Bulletin No. 104. (Remplace le bulletin de pratique numéro 74, juillet 2006, réaffirmé en 2016) American College of Obstetricians and Gynecologists. Obstet Gynecol 2009;113:1180-9.
  15. Aarts JWM, Nieboer TE, Johnson N, Tavender E, Garry R, Mol BWJ, Kluivers KB.Approche chirurgicale de l’hystérectomie pour maladie gynécologique bénigne.Cochrane Database of Systematic Reviews 2015, Issue 8. Art. No. : CD003677.DOI : 10.1002/14651858.CD003677.pub5.
  16. Micah L Hemani, Herbert Lepor. Préparation de la peau pour la prévention de l’infection du site chirurgical : Quel agent est le meilleur ? Rev Urol. 2009 Fall ; 11(4) : 190-195.
  17. William J Mann, Jr, MD. Aperçu de l’évaluation préopératoire et de la préparation à la chirurgie gynécologique. Disponible à : http://www.uptodate.com/contents/overview-of-preoperative-evaluation-and-preparation-for-gynecologic-surgery
  18. Bulletin de pratique de l’ACOG n° 74. Prophylaxie antibiotique pour les procédures gynécologiques. Obstet Gynecol. 2006 Jul;108(1):225-34.
  19. Larsson PG, Carlsson B. Le traitement pré et postopératoire au métronidazole diminue-t-il le taux d’infection de la manchette vaginale après une hystérectomie abdominale chez les femmes atteintes de vaginose bactérienne ? Infect Dis Obstet Gynecol. 2002;10(3):133-40.
  20. Lethaby A, Vollenhoven B, Sowter M. Traitement préopératoire par analogue de la GnRH avant hystérectomie ou myomectomie pour fibromes utérins. Cochrane Database Syst Rev. 2001(2):CD000547.
  21. Vargas Fiesco.et al. Obstetricia integral siglo XXI. Tomo II.Facultad de Medicina, Universidad Nacional de Colombia, Bogotá.2010.
  22. Robertson D, Lefebvre G, Leyland N, Wolfman W, Allaire C, Awadalla A, et al. Prévention des adhérences en chirurgie gynécologique. J Obstet Gynaecol Can. 2010 Jun;32(6):598-608.
  23. Jaszczak SE, Evans TN. Hystérectomie abdominale et vaginale intrafasciale : une réappréciation. Obstet Gynecol. 1982 Apr;59(4):435-44.
  24. Al-Sunaidi M, Tulandi T. Adhesion-related bowel obstruction after hysterectomy for benign conditions. Obstet Gynecol 2006 ; 108:1162.